วัด
พระอารามหลวง
14 วัด
วัดราษฎร์
413 วัด
สำนักสงฆ์
8 วัด
ที่พักสงฆ์
18 วัด
วัดร้าง
3 วัด
วัดทั้งหมด
456 วัด
ศาสนบุคคลไทย
พระภิกษุ
256 รูป
สามเณร
33 รูป
แม่ชี
9 รูป
ภิกษุณี
0 รูป
สามเณรี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
5 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
303 รูป/คน
ศาสนบุคคลต่างชาติ
พระภิกษุ
0 รูป
สามเณร
0 รูป
แม่ชี
0 รูป
ภิกษุณี
0 รูป
สามเณรี
0 รูป
ศิษย์วัด
0 คน
บุคคลทั่วไปชาย
0 คน
บุคคลทั่วไปหญิง
0 คน
ทั้งหมด
0 รูป/คน
สถิติสถานภาพพระภิกษุปัจจุบัน
พระบวชใหม่
215 รูป
ลาสิกขา
9 รูป
มรณภาพ
3 รูป
รายชื่อวัด
ที่สามารถเข้าระบบได้ล่าสุด
จ. สุพรรณบุรี
วันที่ 14-03-2567
จ. ราชบุรี
วันที่ 24-02-2567
จ. เชียงราย
วันที่ 13-02-2567
จ. สิงห์บุรี
วันที่ 13-02-2567
จ. พิษณุโลก
วันที่ 13-02-2567
จ. พิจิตร
วันที่ 29-01-2567
จ. อุบลราชธานี
วันที่ 25-01-2567
จ. เชียงราย
วันที่ 13-01-2567
จ. สุพรรณบุรี
วันที่ 15-11-2566
QR Code วัดท่าคอย
รหัสวัด :
02760502001
ชื่อวัด :
วัดท่าคอย
นิกาย :
มหานิกาย
ประเภทวัด :
วัดราษฎร์
วันตั้งวัด :
ปี 2313
วันรับวิสุงคามสีมา :
วันที่ 30 เดือน เมษายน ปี 2522
ที่อยู่ :
วัดท่าคอย
เลขที่ :
277
หมู่ที่ :
3
ซอย :
3
ถนน :
ราษฏรบำรุง
แขวง / ตำบล :
ท่าคอย
เขต / อำเภอ :
ท่ายาง
จังหวัด :
เพชรบุรี
ไปรษณีย์ :
76130
เนื้อที่ :
16 ไร่
1 งาน
14 ตารางวา
มือถือ :
0898064593
โทรศัพท์ :
032 461 556
Fax :
032 461 556
อีเมล์ :
pmsomnuek2514@gmail.com
คุณสมบัติวัด :
เป็นวัดท่องเที่ยว
เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง
เป็นวัดพัฒนาตัวอย่างดีเด่น
เป็นศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์
จำนวนเข้าดู :
7381
ปรับปรุงล่าสุด :
2 มิถุนายน พ.ศ. 2561 09:08:24
ข้อมูลเมื่อ :
2 มิถุนายน พ.ศ. 2561 09:08:24
 
 
 
 
ประวัติวัดท่าคอย
•วัดท่าคอย  บ้านเลขที่    ๒๗๗   (ตั้งอยู่ที่หมู่บ้านท่าคอย)     หมู่ที่   ๓  ตำบลท่าคอย  อำเภอท่ายาง  จังหวัดเพชรบุรี
  ที่ดินเฉพาะบริเวณที่ตั้งวัด  มีเนื้อที่ ๑๖ไร่  ๑  งาน  ๑๔  ตารางวา  โดยมีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็น  ( / )  โฉนด
   ตั้งวัดเมื่อ  พ.ศ. ๒๓๑๓
 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่  ๓๐   เดือน   เมษายน   พ.ศ.  ๒๕๒๒ 
  เขตวิสุงคามสีมากว้าง   ๒๙   เมตร   ยาว    ๔๗  เมตร
•อาณาเขต
  ทิศเหนือ  จด     แม่น้ำเพชรบุรี
  ทิศใต้  จด  บ้านของชาวบ้าน
  ทิศตะวันออก  จด  ที่ดินของชาวบ้าน
  ทิศตะวันตก  จด  ที่ดินของชาวบ้าน
•ลักษณะพื้นที่ตั้งวัด และบริเวณโดยรอบ    วัดตั้งอยู่ริมแม่น้ำเพชรบุรี  และมีหมู่บ้านล้อมรอบ  และเป็นวัดที่ตั้งอยู่เขตเทศบาลตำบลท่ายาง อยู่ใกล้กับชุมชนใหญ่ ๆ  คือ   ชุมชนเขตตลาดอำเภอท่ายาง    และ ชุมชนหมู่บ้านท่าคอย
•วัดท่าคอย  มีเจ้าอาวาสปกครองกันมาเป็นลำดับ ดังนี้
•รายนามเจ้าอาวาส  ตั้งแต่รูปแรกจนถึงปัจจุบัน  จำนวน  ๖ รูป
๑.พระอธิการพลบ รับหน้าที่และพ้นหน้าที่เมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐานชัด
๒.พระอธิการฉิม  สกุโณ เป็นเจ้าอาวาสต่อมา มรณภาพ เมื่อปี  พ.ศ. ๒๔๘๒
๓.พระครูทัศนียคุณ  (รวม  ทสฺสนีโย )  พ.ศ. ๒๔๘๒  ถึง  พ.ศ.๒๕๒๑มรณภาพ เมื่อปี ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๑
๔.พระมหาสุมนัส  เขจิตโต ป.ธ. ๔ น.ธ. เอก    พ.ศ.  ๒๕๒๒ ถึง พ.ศ.๒๕๒๘   ลาสิกขา
๕.พระมหากลีบ วรปญโญ น.ธ.เอก , ป.ธ. ๙  พ.ศ. ๒๕๒๙ถึง๔ พ.ค. ๒๕๔๒ (ลาออก)  พระศรีปริยัตยาภรณ์  ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส
     วัดพัฒนาราม พระอารามหลวง  เจ้าคณะอำเภอเมือง สุราษฏร์ธานี  มรณภาพ
๖.พระครูสิริทัศนียคุณ (เล็ก  ปญฺญาวุโธ )  น.ธ.เอก ,ป.ธ.๕  ศศ.บ พัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี   ตั้งแต่ ๑ มกราคม ๒๕๔๒ – ปัจจุบัน
วัดท่าคอยมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และสังคม
   เป็นวัดที่สร้างมานานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง  โดยมีหลักฐานสำคัญของวัด คือ อุโบสถหลังเก่า  หอระฆัง  โดยจากการสันนิษฐานและตรวจสอบของกรมศิลปากรว่า เป็นโบราณสถานที่มีอายุมากว่า  ๓๐๐ ปี  เป็นรูปทรงที่สร้างในสมัยนั้น  และได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานแห่งชาติ   และเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๖ กรมการศาสนา กระทรวงศึกษา ได้ออกหนังสือรับสภาพวัด ว่า  สร้างก่อน ปี  พ.ศ.๒๓๑๓

ปูชนียวัตถุและโบราณวัตถุของวัดท่าคอย  คือ
เจดีย์
  เป็นเจดีย์ที่เป็นสิ่งที่สร้างขึ้นภายหลังโบสถ์มีจำนวน ๔ องค์ไม่สามารถระบุได้ว่าสร้างมาตั้งแต่เมื่อใด ใช้ศิลปะการสร้างทรงยอดแหลม และย่อมุม ๑๒  ชาวบ้านได้บริจาคเงินเพื่อบูรณะเจดีย์ในปี พุทธศักราช  ๒๕๓๔  ใช้เงินในการบูรณะทั้งสิ้น ๔๘,๐๐๐ บาท และได้นำอัฐิของบรรพบุรุษมาบรรจุไว้ ณ เจดีย์เหล่านี้ จึงกลายเป็นศิลปะที่คู่กับวัดและยังใช้ประโยชน์ในการเป็นที่บรรจุอัฐิประจำตระกูลเก่าแก่ของบ้านท่าคอยอีกด้วย